กลายเป็นกระแสวิพากษ์วิจารณ์ในสื่อสังคมออนไลน์ เมื่

วันนี้ (18 ม.ค.2568) กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้า บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือและทะเลจีนใต้ ทำให้มีลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พัดนำควา
วันนี้ (13 ม.ค.68 ) นายสาโรจน์ พึงรำพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.ในฐานะโฆษกสำนักงาน ป.ป.ช. แถลงว่า ในวันนี้ คณะกรรมการ ป.ป.ช.ในฐานะองค์คณะในการไต่สวนข้อเท็จจริง ซึ่งมีนายเอกวิทย์ วัชชวัลคุ กรรมการ ป
วันนี้ (30 ก.ย.2564) นายสำเริง แสงภู่วงศ์ เลขานุการ กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ ลงนามประกาศฉบับที่ 16/2564 เรื่องเฝ้าระวังสถานการณ์น้ำลุ่มน้ำเจ้าพระยา ระบุว่า จากอิทธิพลของร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง และภาคตะวันออติดต่อ 928betกเฉียงเหนือตอนล่าง ประกอบกับมีหย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุมภาคกลาง ทำให้ประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมากในบางพื้นที่ของภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ในช่วงวันที่ 22 -24 ก.ย.ที่ผ่านมา และการคาดหมายของกรมอุตุนิยมวิทยา ในช่วงวันที่ 28 ก.ย.-2 ต.ค.2564 ร่องมรสุมจะเลื่อนลงพาดผ่านภาคกลางตอนล่างและภาคใต้ตอนบน ทำให้มีฝนตกหนักบางแห่งในภาคกลางตอนล่าง และภาคใต้ตอนบน และส่งผลให้เกิดน้ำหลากในพื้นที่ดังกล่าวได้ กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) ประเมินปริมาณฝนที่ตกหนักสะสมในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบนและลุ่มน้ำป่าสัก คาดว่ามีน้ำหลากจากพื้นที่ตอนบนของลุ่มน้ำเจ้าพระยาไหลลงเหนือเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องจากลุ่มน้ำปิงจากบริเวณคลองสวนหมาก อ.เมืองกำแพงเพชร 438 ลบ.ม.ต่อวินาที และคลองขลุง อ.คลองขลุง จ.กำแพงเพชร 267 ลบ.ม.ต่อวินาที คาดการณ์ว่าจะมีปริมาณน้ำไหลผ่านสถานีวัดน้ำจ.นครสวรรค์ (C.2) อยู่ในอัตราประมาณ 2,750-2,900 ลบ.ม.ต่อวินาที และมีปริมาณน้ำหลากจากแม่น้ำสะแกกรังไหลผ่านสถานีวัดน้ำจ.อุทัยธานี (Ct.19) อยู่ในอัตรา 450 ลบ.ม.ต่อวินาที ประเมินปริมาณน้ำไหลเข้าสู่เขื่อนเจ้าพระยาอยู่ในอัตรา 3,200 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที อ่านข่าวเพิ่ม 2 วัน! เจ้าพระยาน้ำขึ้นถึงจุดสูงสุด-เร่งผันฝั่งตะวันออกลงอ่าวไทย ทั้งนี้ กอนช. ได้มอบหมายให้กรมชลประทานบริหารจัดการน้ำด้านเหนือเขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท ร่วมกับการตัดยอดน้ำเข้าระบบคลองชลประทานทั้งสองฝั่ง และพื้นที่ลุ่มต่ำ ซึ่งจะทำให้มีปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยาอยู่ในอัตรา 2,700 ลบ.ม.ต่อวินาที ประกอบกับมีปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เพิ่มมากขึ้น เพื่อรักษาเสถียรภาพความปลอดภัยและความมั่นคงของเขื่อน จึงจำเป็นต้องระบายน้ำจากเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ในอัตรา 900-1,200 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ส่งผลให้มีปริมาณน้ำไหลผ่านสถานีวัดน้ำ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา (C.29A) อยู่ในอัตราประมาณ 3,000-3,200 ลบ.ม.ต่อวินาที ทั้งนี้แส่งผลให้ระดับน้ำตั้งแต่ท้ายเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มขึ้นเล็กน้อย และท้ายเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เพิ่มสูงขึ้นจากปัจจุบันประมาณ 1.20-2.40 เมตร และท้ายเขื่อนพระรามหกเพิ่มสูงขึ้นจากปัจจุบันประมาณ 2.30-2.80 เมตร ในช่วงวันที่ 1-5 ต.ค.นี้ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือ ขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิดต่อเนื่อง โดยเฉพาะพื้นที่จุดเสี่ยงบริเวณที่ลุ่มต่ำริมแม่น้ำ พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลและแจ้งเตือนประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ริมลำน้ำ ปรับแผนบริหารจัดการเขื่อนระบายน้ำและประตูระบายน้ำ โดยพร่องน้ำและบริหารพื้นที่ลุ่มต่ำ ให้เป็นแก้มลิงหน่วงน้ำและเร่งระบายน้ำในลำน้ำ แม่น้ำ รองรับน้ำหลากจากพื้นที่ตอนบน เพื่อลดผลกระทบความรุนแรงของอุทกภัยและให้สถานการณ์กลับสู่สภาวะปกติโดยเร็ว และเตรียมแผนเผชิญเหตุรับสถานการณ์น้ำหลาก เตรียมความพร้อมบุคลากร เครื่องจักรเครื่องมือ รวมถึงความพร้อมของระบบสื่อสารสำรอง เพื่อบูรณาการความพร้อมให้ความช่วยเหลือและบรรเทาผลกระทบต่อประชาชนได้ทันที อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง สรุป 4 ปัจจัย "กทม." พ้นเสี่ยงน้ำท่วมซ้ำรอยปี 54
ปี 2558 รัฐบาล คสช.ภายใต้การนำของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา มีแผนขยายการลงทุนกิจการด้านอุตสาหกรรมไปยั
วันนี้ (3 พ.ค.2565) เจ้าหน้าที่เร่งเก็บฉากไวนิลพิธีลงนามโครงการบริหารและดำเนินกิจการระบบท่อส่งน้ำสา
กรณีการออกมาเปิดเผยข้อมูลการซื้อวุฒิการศึกษา จนถึงการขายตำแหน่งในกรรมาธิการ เชื่อมโยงถึง "ต้นอ้อ" ปร
วันนี้ (30 ก.ย.2564) นายสำเริง แสงภู่วงศ์ เลขานุการ กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ ลงนามประกาศฉบับที่ 16/2564 เรื่องเฝ้าระวังสถานการณ์น้ำลุ่มน้ำเจ้าพระยา ระบุว่า จากอิทธิพลของร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง และภาคตะวันออติดต่อ 928betกเฉียงเหนือตอนล่าง ประกอบกับมีหย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุมภาคกลาง ทำให้ประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมากในบางพื้นที่ของภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ในช่วงวันที่ 22 -24 ก.ย.ที่ผ่านมา และการคาดหมายของกรมอุตุนิยมวิทยา ในช่วงวันที่ 28 ก.ย.-2 ต.ค.2564 ร่องมรสุมจะเลื่อนลงพาดผ่านภาคกลางตอนล่างและภาคใต้ตอนบน ทำให้มีฝนตกหนักบางแห่งในภาคกลางตอนล่าง และภาคใต้ตอนบน และส่งผลให้เกิดน้ำหลากในพื้นที่ดังกล่าวได้ กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช.) ประเมินปริมาณฝนที่ตกหนักสะสมในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบนและลุ่มน้ำป่าสัก คาดว่ามีน้ำหลากจากพื้นที่ตอนบนของลุ่มน้ำเจ้าพระยาไหลลงเหนือเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องจากลุ่มน้ำปิงจากบริเวณคลองสวนหมาก อ.เมืองกำแพงเพชร 438 ลบ.ม.ต่อวินาที และคลองขลุง อ.คลองขลุง จ.กำแพงเพชร 267 ลบ.ม.ต่อวินาที คาดการณ์ว่าจะมีปริมาณน้ำไหลผ่านสถานีวัดน้ำจ.นครสวรรค์ (C.2) อยู่ในอัตราประมาณ 2,750-2,900 ลบ.ม.ต่อวินาที และมีปริมาณน้ำหลากจากแม่น้ำสะแกกรังไหลผ่านสถานีวัดน้ำจ.อุทัยธานี (Ct.19) อยู่ในอัตรา 450 ลบ.ม.ต่อวินาที ประเมินปริมาณน้ำไหลเข้าสู่เขื่อนเจ้าพระยาอยู่ในอัตรา 3,200 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที อ่านข่าวเพิ่ม 2 วัน! เจ้าพระยาน้ำขึ้นถึงจุดสูงสุด-เร่งผันฝั่งตะวันออกลงอ่าวไทย ทั้งนี้ กอนช. ได้มอบหมายให้กรมชลประทานบริหารจัดการน้ำด้านเหนือเขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท ร่วมกับการตัดยอดน้ำเข้าระบบคลองชลประทานทั้งสองฝั่ง และพื้นที่ลุ่มต่ำ ซึ่งจะทำให้มีปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยาอยู่ในอัตรา 2,700 ลบ.ม.ต่อวินาที ประกอบกับมีปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เพิ่มมากขึ้น เพื่อรักษาเสถียรภาพความปลอดภัยและความมั่นคงของเขื่อน จึงจำเป็นต้องระบายน้ำจากเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ในอัตรา 900-1,200 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ส่งผลให้มีปริมาณน้ำไหลผ่านสถานีวัดน้ำ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา (C.29A) อยู่ในอัตราประมาณ 3,000-3,200 ลบ.ม.ต่อวินาที ทั้งนี้แส่งผลให้ระดับน้ำตั้งแต่ท้ายเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มขึ้นเล็กน้อย และท้ายเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เพิ่มสูงขึ้นจากปัจจุบันประมาณ 1.20-2.40 เมตร และท้ายเขื่อนพระรามหกเพิ่มสูงขึ้นจากปัจจุบันประมาณ 2.30-2.80 เมตร ในช่วงวันที่ 1-5 ต.ค.นี้ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือ ขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิดต่อเนื่อง โดยเฉพาะพื้นที่จุดเสี่ยงบริเวณที่ลุ่มต่ำริมแม่น้ำ พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลและแจ้งเตือนประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ริมลำน้ำ ปรับแผนบริหารจัดการเขื่อนระบายน้ำและประตูระบายน้ำ โดยพร่องน้ำและบริหารพื้นที่ลุ่มต่ำ ให้เป็นแก้มลิงหน่วงน้ำและเร่งระบายน้ำในลำน้ำ แม่น้ำ รองรับน้ำหลากจากพื้นที่ตอนบน เพื่อลดผลกระทบความรุนแรงของอุทกภัยและให้สถานการณ์กลับสู่สภาวะปกติโดยเร็ว และเตรียมแผนเผชิญเหตุรับสถานการณ์น้ำหลาก เตรียมความพร้อมบุคลากร เครื่องจักรเครื่องมือ รวมถึงความพร้อมของระบบสื่อสารสำรอง เพื่อบูรณาการความพร้อมให้ความช่วยเหลือและบรรเทาผลกระทบต่อประชาชนได้ทันที อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง สรุป 4 ปัจจัย "กทม." พ้นเสี่ยงน้ำท่วมซ้ำรอยปี 54
วันนี้ (30 ก.ย.2564) นายสำเริง แสงภู่วงศ์ เลขานุการ กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ ลงนามประกาศฉบับที่ 16/256