allbet918 -Prabowo Singgung Juru Bicara Keseleo Lidah: Ya Namanya Manusia

หลายคนอาจสงสัยระหว่างคำว่า "โรคทางจิตเวช" กับ กับ "โรควิตกกังวล" เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เป็นสิ่งเดียวกันหรือไม่ ในทางการแพทย์ ให้คำนิยามของทั้งสองคำนี้อย่างไร มาหาคำตอบกัน "โรคทางจิตเวช" เป็นกลุ่
วันนี้ (25 ต.ค.2564) นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.พาณิชย์ กล่าวภายหลังประชุม ครม
หลายคนอาจสงสัยระหว่างคำว่า "โรคทางจิตเวช" กับ กับ "โรควิตกกังวล" เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เป็นสิ่งเดียวกันหรือไม่ ในทางการแพทย์ ให้คำนิยามของทั้งสองคำนี้อย่างไร มาหาคำตอบกัน "โรคทางจิตเวช" เป็นกลุ่มของโรคที่ส่งผลต่อความคิด อารมณ์ พฤติกรรม และการรับรู้ของบุคคล อาจมีอาการรุนแรงจนส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การทำงาน หรือการเข้าสังคม - ช่วงเวลาที่เป็น Manic Episode (ภาวะอารมณ์ดีผิดปกติ) ผู้ป่วยจะรื่นเริงสนุกสนานผิดปกติ มีพลังในการทำกิจกรรมต่างๆ ไม่มีเหน็ดเหนื่อย มีความมั่นใจมาก ขาดความยับยั้งชั่งใจ หากถูกห้ามหรือขัดขวางในสิ่งที่ต้องการจะหงุดหงิด ในรายที่มีความรุนแรงจะพบมีอาการหลงผิดคิดว่ามีพลังวิเศษ - ช่วงเวลาที่เป็น Depressive Episode (ภาวะซึมเศร้า) ผู้ป่วยจะมีอาการเบื่อหน่าย ซึมเศร้า ร้องไห้ง่าย กินไม่ได้ นอนผิดปกติ(นอนตลดเวลา นอนไม่หลับ หรือไม่นอนเลย) รู้สึกหมดหวัง ชีวิตตัวเองไม่มีคุณค่า ไม่อยากทำอะไรเลย และอาจคิดฆ่าตัวตาย โรควิตกกังวล (Anxiety Disorders) เป็นโรคที่อยู่ในกลุ่มของความผิดปกติทางอารมณ์ ผู้ป่วยจะมีจิตใจแปรปรวนอ่อนไหวง่าย ที่พบได้บ่อย คือ โรควิตกกังวลทั่วไป (general anxiety disorder) ลักษณะสำคัญคือมีความกังวล คนปกติอาจมีความวิตกกังวลในบางสถานการณ์ เช่น กังวลเรื่องลูกไปโรงเรียน หรือเริ่มงานใหม่ อาการเหล่านี้มักหายไปเองเมื่อเหตุการณ์ผ่านไป แต่ในผู้ที่เป็นโรควิตกกังวลทั่วไป จะมีอาการติดต่อกันนานกว่า 6 เดือน และมักคิดฟุ้งซ่าน กังวลหลายเรื่องในเวลาเดียวกัน ส่วนใหญ่มักเป็นเรื่องที่ยังไม่เกิดขึ้น รู้สึกกลัวเกินเหตุ ใจลอย และตกใจง่าย ไม่สามารถหักห้ามใจไม่ให้คิดได้ นอกจากอาการทางจิตใจแล้ว ผู้ป่วยมักมีอาการทางร่างกายร่วมด้วยอย่างน้อย 3 อย่าง เช่น กระสับกระส่าย เหนื่อยง่าย ใจสั่น ปวดตึงกล้ามเนื้อโดยเฉพาะที่ต้นคอ ไหล่ หลัง ใจเต้นเร็วและแรง หายใจไม่อิ่ม ท้องเสีย ปัสสาวะบ่อย มือเท้าเย็น นอนไม่หลับ ไม่มีสมาธิ เป็นต้น โรควิตกกังวลทั่วไปเกิดจากความผิดปกติทางจิตใจหรือความไม่สมดุลของสารสื่อประสาทในสมอง โรคนี้สามารถรักษาได้ด้วยยาและการบำบัดทางจิตสังคม ซึ่งช่วยปรับความคิดและพฤติกรรมควบคู่กัน หากกำลังเผชิญกับความวิตกกังวล สามารถบรรเทาอาการได้ด้วยวิธีได้ดังนี้ ดังนั้นจึงอาจพูดได้ว่า "โรคทางจิตเวช" เป็นกลุ่มโรคที่มีผลกระทบต่อความคิด การรับรู้ และพฤติกรรมอย่างรุนแรง อาจมีอาการหลงผิดหรือประสาทหลอน ส่allbet918วน "โรควิตกกังวล" เป็นกลุ่มโรคที่เกี่ยวข้องกับความเครียดและความกังวลมากเกินไป แต่ไม่มีอาการหลงผิดหรือประสาทหลอน อ้างอิงข้อมูล : กรมสุขภาพจิต, โรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา อ่านข่าว : ไมเกรน VS เส้นเลือดสมองแตก ปวดหัวแบบไหน อันตรายถึงชีวิต ? รู้ได้อย่างไรเป็น "โรคอ้วน" ทำไม "น้ำหนัก" ถึงไม่ใช่แค่เรื่องของรูปร่าง ยาทดแทน "ยาบ้า" รักษานักเสพ แก้วิกฤตนักโทษคดียาเสพติดล้นคุก
วันนี้ (22 พ.ค. 2565) เวลา 06.30 น. เช้านี้บริเวณริมแม่น้ำแจ่ม ยังคงมีน้ำท่วมถนนสาย 108 ฮอด-แม่สะเรียง ช่วง กม.98 - กม.99 อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ แต่ระดับน้ำเริ่มทรงตัวและลดระดับลง ทำให้รถเริ่มสัญจรผ่าน