Home
|
บ้าน ผล บอล เ

วันนี้ (6 ส.ค.67) การประชุมวุฒิสภาที่มี พล.อ.เกรีย

บ้าน ผล บอล เ

วันนี้ (11 ก.ค.2565) พล.ต.อ.ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ รอง ผบ.ตร. นำทีมเจรจากับเจ้าหน้าที่กัมพูชา จากนั้นร่วมกันเข้าทลายแก๊งคอลเซนเตอร์ 4 แก๊งใหญ่ ปฏิบัติการร่วมกันทั้งเจ้าหน้าที่ไทยและกัมพูชา เข้าตรวจค

วันที่ 15 พ.ย.2565 นายสาส์นลิขิตชัย พลไธสง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย ลงพื้นที่โรงเรียนวังหลวงพิทยาสรรพ์ เพื่อรับฟังข้อเท็จจริงร่วมกับผู้ปกครองและชุมชน หลังเกิดเหตุครูทำร้า

เมื่อวันที่ 19 ม.ค.2564 พญ.ศันสนีย์ เครก กุมารแพทย์ ประจำโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในเมืองฟิลาเดเฟีย สหรัฐอเมริกา ได้รับวัคซีนต้าน COVID-19 ของไฟเซอร์และไบออนเทคครบ 2 โดส เนื่องจากเธอเป็นบุคลากรทางการแพทย์อยู่ในกลุ่มได้รับวัคซีนเป็นกลุ่มแรก สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีผู้ติดเชื้อมากที่สุดในโลกกว่า 27 ล้านคน ข้อมูลจาก our world in data ระบุว่า สหรัฐฯ ฉีดวัคซีนต้าน COVID-19 ให้ประชากรในประเทศไปแล้วกว่า 17 ล้านโดส ขณะที่สื่อ USA TODAY ระบุว่า มีผู้ได้รับวัคซีนในสหรัฐฯ ไปแล้วร้อยละ 4.9 และมีเพียงร้อยละ 0บ้าน ผล บอล เ.8 เท่านั้นที่ได้รับครบทั้ง 2 โดส ขณะที่ พญ.ศันสนีย์ บอกว่า แม้ว่าได้รับวัคซีนครบ 2 โดส แต่ยังไม่สามารถกลับไปใช้ชีวิตได้ตามปกติ เหมือนช่วงก่อน COVID-19 ระบาด พญ.ศันสนีย์ เครก กุมารแพทย์ พญ.ศันสนีย์ เครก กุมารแพทย์ วัคซีนของไฟเซอร์และไบออนเทค หรือ Moderna ที่สหรัฐฯ ใช้อยู่ในขณะนี้ ต่างเป็นวัคซีนชนิด messenger RNA หรือ mRNA ซึ่งเป็นนวัตกรรมล่าสุด หลักการของวัคซีนชนิดนี้ คือนำสารพันธุกรรม mRNA เข้าไปในร่างกาย ให้ร่างกายรู้จักส่วนหนึ่งหรือหน้าตาของไวรัส COVID-19 เพื่อสร้างแอนติดบอดี้ต่อเชื้อไวรัสชนิดนี้และชี้เป้าให้ทีเซลล์เข้ามากำจัด ส่งผลให้ผู้รับวัคซีนไม่ติดเชื้อในอนาคต ในประเทศไทย วัคซีนชนิด mRNA กำลังถูกพัฒนาโดยศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวัคซีนต้าน COVID-19 ชนิด mRNA ของศูนย์วิจัยวัคซีน จุฬาฯ จะเป็นวัคซีนตัวแรกจากผู้พัฒนาในประเทศ ที่เริ่มทดสอบกันคนภายในปีนี้ แผนที่วางไว้คือ หลังจากได้วัคซีนต้นแบบจากโรงงาน 2 แห่งในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา จำนวน 10,000 โดส กลางเดือน เม.ย.เป็นต้นไป จะเริ่มทดสอบกับคนระยะแรก ในอาสาสมัครจำนวน 72 คน เพื่อหาปริมาณโดสที่เหมาะสม จากนั้นเดือน มิ.ย. - ก.ย.2564 จะทดสอบความปลอดภัยและประสิทธิภาพในอาสาสมัครจำนวน 600 คน สำหรับการทดสอบในระยะที่ 3 ทางศูนย์วิจัยวัคซีน จุฬาฯคาดว่า อาจจะทำหรือไม่ทำก็ได้ ขึ้นอยู่กับข้อมูลทางวิชาการในขณะนั้น นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม ผู้อำนวยการพัฒนาวัคซีน COVID-19 ศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ยังเปิดเผยว่า เบื้องต้น วัคซีนที่กำลังพัฒนาอยู่ สามารถเก็บรักษาได้ในตู้เย็นปกติที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส ซึ่งได้เปรียบวัคซีน mRNA ของไฟเซอร์และไบออนเทค ที่ต้องเก็บรักษาในอุณหภูมิ -70 องศาเซลเซียส คาดว่าภายใน 2 เดือนข้างหน้า จะทราบผลที่แน่ชัดเกี่ยวกับอุณหภูมิที่ใช้เก็บรักษาวัคซีน หากเป็นไปตามแผนที่วางไว้ ผู้พัฒนาในประเทศจะสามารถผลิตวัคซีนแบบ mRNA จำนวน 1 ล้านโดสแรกได้ภายในสิ้นปี 2564 นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม ความเคลื่อนไหวล่าสุดของการพัฒนาวัคซีนต้าน COVID-19 ในไทยนอกจากมีวัคซีนชนิด mRNA จากศูนย์วิจัยวัคซีน จุฬาฯแล้ว ยังมีวัคซีนจากบริษัทใบยา ไฟโตฟาร์ม จำกัด เป็นวัคซีนชนิดโปรตีน (Protein based Vaccine) ซึ่งเตรียมทดสอบระยะแรกกับคนในเดือน มิ.ย.นี้ ขณะที่ไบโอเทค สวทช. กำลังพัฒนาวัคซีนต้าน COVID-19 จำนวน 3 ชนิดด้วยกัน ขณะนี้อยู่ระหว่างการทดสอบในสัตว์ทดลอง

วันนี้ (28 ม.ค.2565) เจ้าหน้าที่ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนราคาสินค้า กรมการค้าภายใน เปิดเผยว่า ได้รับรั

เมื่อวันที่ 19 ม.ค.2564 พญ.ศันสนีย์ เครก กุมารแพทย์ ประจำโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในเมืองฟิลาเดเฟีย สหรัฐอเ

เมื่อวันที่ 20 ต.ค.2565 ฝ่ายปกครอง อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เข้าตรวจสอบวัดแ

เมื่อวันที่ 19 ม.ค.2564 พญ.ศันสนีย์ เครก กุมารแพทย์ ประจำโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในเมืองฟิลาเดเฟีย สหรัฐอเมริกา ได้รับวัคซีนต้าน COVID-19 ของไฟเซอร์และไบออนเทคครบ 2 โดส เนื่องจากเธอเป็นบุคลากรทางการแพทย์อยู่ในกลุ่มได้รับวัคซีนเป็นกลุ่มแรก สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีผู้ติดเชื้อมากที่สุดในโลกกว่า 27 ล้านคน ข้อมูลจาก our world in data ระบุว่า สหรัฐฯ ฉีดวัคซีนต้าน COVID-19 ให้ประชากรในประเทศไปแล้วกว่า 17 ล้านโดส ขณะที่สื่อ USA TODAY ระบุว่า มีผู้ได้รับวัคซีนในสหรัฐฯ ไปแล้วร้อยละ 4.9 และมีเพียงร้อยละ 0บ้าน ผล บอล เ.8 เท่านั้นที่ได้รับครบทั้ง 2 โดส ขณะที่ พญ.ศันสนีย์ บอกว่า แม้ว่าได้รับวัคซีนครบ 2 โดส แต่ยังไม่สามารถกลับไปใช้ชีวิตได้ตามปกติ เหมือนช่วงก่อน COVID-19 ระบาด พญ.ศันสนีย์ เครก กุมารแพทย์ พญ.ศันสนีย์ เครก กุมารแพทย์ วัคซีนของไฟเซอร์และไบออนเทค หรือ Moderna ที่สหรัฐฯ ใช้อยู่ในขณะนี้ ต่างเป็นวัคซีนชนิด messenger RNA หรือ mRNA ซึ่งเป็นนวัตกรรมล่าสุด หลักการของวัคซีนชนิดนี้ คือนำสารพันธุกรรม mRNA เข้าไปในร่างกาย ให้ร่างกายรู้จักส่วนหนึ่งหรือหน้าตาของไวรัส COVID-19 เพื่อสร้างแอนติดบอดี้ต่อเชื้อไวรัสชนิดนี้และชี้เป้าให้ทีเซลล์เข้ามากำจัด ส่งผลให้ผู้รับวัคซีนไม่ติดเชื้อในอนาคต ในประเทศไทย วัคซีนชนิด mRNA กำลังถูกพัฒนาโดยศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวัคซีนต้าน COVID-19 ชนิด mRNA ของศูนย์วิจัยวัคซีน จุฬาฯ จะเป็นวัคซีนตัวแรกจากผู้พัฒนาในประเทศ ที่เริ่มทดสอบกันคนภายในปีนี้ แผนที่วางไว้คือ หลังจากได้วัคซีนต้นแบบจากโรงงาน 2 แห่งในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา จำนวน 10,000 โดส กลางเดือน เม.ย.เป็นต้นไป จะเริ่มทดสอบกับคนระยะแรก ในอาสาสมัครจำนวน 72 คน เพื่อหาปริมาณโดสที่เหมาะสม จากนั้นเดือน มิ.ย. - ก.ย.2564 จะทดสอบความปลอดภัยและประสิทธิภาพในอาสาสมัครจำนวน 600 คน สำหรับการทดสอบในระยะที่ 3 ทางศูนย์วิจัยวัคซีน จุฬาฯคาดว่า อาจจะทำหรือไม่ทำก็ได้ ขึ้นอยู่กับข้อมูลทางวิชาการในขณะนั้น นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม ผู้อำนวยการพัฒนาวัคซีน COVID-19 ศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ยังเปิดเผยว่า เบื้องต้น วัคซีนที่กำลังพัฒนาอยู่ สามารถเก็บรักษาได้ในตู้เย็นปกติที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส ซึ่งได้เปรียบวัคซีน mRNA ของไฟเซอร์และไบออนเทค ที่ต้องเก็บรักษาในอุณหภูมิ -70 องศาเซลเซียส คาดว่าภายใน 2 เดือนข้างหน้า จะทราบผลที่แน่ชัดเกี่ยวกับอุณหภูมิที่ใช้เก็บรักษาวัคซีน หากเป็นไปตามแผนที่วางไว้ ผู้พัฒนาในประเทศจะสามารถผลิตวัคซีนแบบ mRNA จำนวน 1 ล้านโดสแรกได้ภายในสิ้นปี 2564 นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม ความเคลื่อนไหวล่าสุดของการพัฒนาวัคซีนต้าน COVID-19 ในไทยนอกจากมีวัคซีนชนิด mRNA จากศูนย์วิจัยวัคซีน จุฬาฯแล้ว ยังมีวัคซีนจากบริษัทใบยา ไฟโตฟาร์ม จำกัด เป็นวัคซีนชนิดโปรตีน (Protein based Vaccine) ซึ่งเตรียมทดสอบระยะแรกกับคนในเดือน มิ.ย.นี้ ขณะที่ไบโอเทค สวทช. กำลังพัฒนาวัคซีนต้าน COVID-19 จำนวน 3 ชนิดด้วยกัน ขณะนี้อยู่ระหว่างการทดสอบในสัตว์ทดลอง

วันนี้ (13 พ.ค.2568) ดร.สุกันยาณี ยะวิญชาญ อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา เปิดเผยว่า กรมอุตุนิยมวิทยา คาดการ