วันที่ 2 ก.พ.2566 สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวงได้รายงานข้อมูลการโจรกรรมอุปกรณ์งานทางของกรมทางหลวตู้ม้า ทดลองเล่น
วันนี้ (13 พ.ค.2565) สำนักข่าวต่างประเทศ รายงานว่า เกาหลีเหนือมีผู้เสียชีวิตจากโควิด-19 แล้ว 6 คน โดยหนึ่งในนั้นได้รับการยืนยันว่าติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์โอมิครอน สำนักข่าวกลางเกาหลี (KCNA) รายงานว่า ใน
วันนี้ (8 มี.ค.2565) น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต กรณีโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 โดยให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มี.ค.2565 เป็นต้นไป ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ปรับปรุง ผู้ป่วย COVID-19 ที่ไม่มีอาการ อาการไม่รุนแรง หรือที่เรียกว่ากลุ่มสีเขียว จะไม่นับเป็นผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต แต่สามารถเข้ารับการรักษาฟรีในโรงพยาบาลตามสิทธิของแต่ละคน ทั้งสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า สิทธิประกันสังคม หรือสิทธิรักษาพยาบาลของข้าราชการ และแนะนำให้การดูแลแบบ Home Isolation(HI) หรือ Community Isolation(CI) หรือ Hotel Isolation ส่วนผู้ป่วยติด COVID-19 ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเข้าเกณฑ์วิกฤตฉุกเฉินตามเกณฑ์ที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) ได้กำหนดแนวทางและเกณฑ์ประเมินคัดแยกระดับความฉุกเฉินไว้แล้ว คือ กลุ่มผู้ป่วยสีเหลืองและสีแดง ให้สามารถเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้ในโรงพยาบาลทุกแห่ง โดยไม่กำหนดระยะเวลา 72 ชั่วโมงแรก สิทธิที่การปรับปรุงนี้เรียกว่า UCEP Plus ซึ่งสิทธิดังกล่าวนี้ จะเปิดโอกาสให้มีการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินรุนแรงจากโรงพยาบาลหนึ่งไปเข้ารับการรักษาใน ICU ของอีกโรงพยาบาลได้ภายหลัง 72 ชั่วโมงแรกด้วย ซึ่งดีกว่าโรคอื่น ๆ ที่เข้าตามนิยามเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต สำหรับสาระสำคัญของหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ กรณีโรค COVID-19 มีดังนี้ คือ กำหนดให้สถานพยาบาลต้องจัดให้มีการรักษาพยาบาลโดยฉุกเฉิน เพื่อให้พ้นจากอันตรายตามมาตรฐานวิชาชีพและขีดความสามารถของสถานพยาบาลโดยไม่มีเงื่อนไขในการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล เพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อการดูแลรักษา และให้สถานพยาบาลแจ้งต่อกองทุนของผู้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม หรือกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทนหรือจากส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐทราบโดยเร็ว นอกจากนี้ ยังได้กำหนดให้กรณีที่มีปัญหาการวินิจฉัยในการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตให้ปรึกษาศูนย์ประสานคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉิน ของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติได้ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง เพื่อดำเนินการวินิจฉัย โดยคำวินิจฉัยของศูนย์ประสานคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉินให้ถือเป็นที่สุด ซึ่งแนวทางการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต และแบบแจ้งผลการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติให้เป็นไปตามที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติกำหนด พร้อมกันนี้ ครม. มีมติให้ กระทรวงการคลัง สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานประกันสังคม สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน หรือกองทุนอื่นที่มีวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการด้านการแพทย์ หรือสาธารณสุขดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังกล่าว และดำเนินการจ่ายค่าใช้จ่ายในอัตราตามบัญชีแนบท้ายหลักเกณฑ์ รวมถึงแก้ไขปรับปรุง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่อนุมัติใตู้ม้า ทดลองเล่นนครั้งนี้ด้วย นอกจากนี้ น.ส.ไตรศุลี เปิดเผยว่า ครม.เห็นชอบให้ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นภาคีสถาบันวัคซีนนานาชาติ(IVI) อย่างสมบูรณ์ และอนุมัติให้ประเทศไทยสนับสนุนงบประมาณแก่ IVI ปีละ 100,000 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 3.25 ล้านบาท โดยใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินอุดหนุนของกระทรวงสาธารณสุข เริ่มตั้งแต่ปีงบประมาณ 2566 เป็นต้นไป และมอบหมายให้กระทรวงการต่างประเทศจัดทำสัตยาบันสาร เพื่อการเข้าร่วมเป็นภาคี IVI อย่างสมบูรณ์ และพัฒนาศักยภาพด้านวัคซีนของประเทศไทย มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ของโลก ขณะเดียวกัน ครม.ยังเห็นชอบในหลักการร่างประกาศกระทรวงการคลังรวม 3 ฉบับ ซึ่งเป็นการขยายระยะเวลามาตรการยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าที่มีความจำเป็นเนื่องจากสถานการณ์ COVID-19 โดยให้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย.-30 ก.ย. 2565
กรณีที่ประชุม ครม.เห็นชอบกำหนดวันหยุดราชการเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ และการกำหนดวันหยุดราชการประจำภูมิภาค แ
ตู้ม้า ทดลองเล่น
วันที่ 2 ก.พ.2566 สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวงได้รายงานข้อมูลการโจรกรรมอุปกรณ์งานทางของกรมทางหลวตู้ม้า ทดลองเล่น
วันนี้ (13 พ.ค.2565) สำนักข่าวต่างประเทศ รายงานว่า เกาหลีเหนือมีผู้เสียชีวิตจากโควิด-19 แล้ว 6 คน โดยหนึ่งในนั้นได้รับการยืนยันว่าติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์โอมิครอน สำนักข่าวกลางเกาหลี (KCNA) รายงานว่า ใน
วันนี้ (8 มี.ค.2565) น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต กรณีโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 โดยให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มี.ค.2565 เป็นต้นไป ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ปรับปรุง ผู้ป่วย COVID-19 ที่ไม่มีอาการ อาการไม่รุนแรง หรือที่เรียกว่ากลุ่มสีเขียว จะไม่นับเป็นผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต แต่สามารถเข้ารับการรักษาฟรีในโรงพยาบาลตามสิทธิของแต่ละคน ทั้งสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า สิทธิประกันสังคม หรือสิทธิรักษาพยาบาลของข้าราชการ และแนะนำให้การดูแลแบบ Home Isolation(HI) หรือ Community Isolation(CI) หรือ Hotel Isolation ส่วนผู้ป่วยติด COVID-19 ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเข้าเกณฑ์วิกฤตฉุกเฉินตามเกณฑ์ที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) ได้กำหนดแนวทางและเกณฑ์ประเมินคัดแยกระดับความฉุกเฉินไว้แล้ว คือ กลุ่มผู้ป่วยสีเหลืองและสีแดง ให้สามารถเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้ในโรงพยาบาลทุกแห่ง โดยไม่กำหนดระยะเวลา 72 ชั่วโมงแรก สิทธิที่การปรับปรุงนี้เรียกว่า UCEP Plus ซึ่งสิทธิดังกล่าวนี้ จะเปิดโอกาสให้มีการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินรุนแรงจากโรงพยาบาลหนึ่งไปเข้ารับการรักษาใน ICU ของอีกโรงพยาบาลได้ภายหลัง 72 ชั่วโมงแรกด้วย ซึ่งดีกว่าโรคอื่น ๆ ที่เข้าตามนิยามเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต สำหรับสาระสำคัญของหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ กรณีโรค COVID-19 มีดังนี้ คือ กำหนดให้สถานพยาบาลต้องจัดให้มีการรักษาพยาบาลโดยฉุกเฉิน เพื่อให้พ้นจากอันตรายตามมาตรฐานวิชาชีพและขีดความสามารถของสถานพยาบาลโดยไม่มีเงื่อนไขในการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล เพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อการดูแลรักษา และให้สถานพยาบาลแจ้งต่อกองทุนของผู้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม หรือกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทนหรือจากส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐทราบโดยเร็ว นอกจากนี้ ยังได้กำหนดให้กรณีที่มีปัญหาการวินิจฉัยในการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตให้ปรึกษาศูนย์ประสานคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉิน ของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติได้ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง เพื่อดำเนินการวินิจฉัย โดยคำวินิจฉัยของศูนย์ประสานคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉินให้ถือเป็นที่สุด ซึ่งแนวทางการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต และแบบแจ้งผลการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติให้เป็นไปตามที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติกำหนด พร้อมกันนี้ ครม. มีมติให้ กระทรวงการคลัง สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานประกันสังคม สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน หรือกองทุนอื่นที่มีวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการด้านการแพทย์ หรือสาธารณสุขดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังกล่าว และดำเนินการจ่ายค่าใช้จ่ายในอัตราตามบัญชีแนบท้ายหลักเกณฑ์ รวมถึงแก้ไขปรับปรุง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่อนุมัติใตู้ม้า ทดลองเล่นนครั้งนี้ด้วย นอกจากนี้ น.ส.ไตรศุลี เปิดเผยว่า ครม.เห็นชอบให้ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นภาคีสถาบันวัคซีนนานาชาติ(IVI) อย่างสมบูรณ์ และอนุมัติให้ประเทศไทยสนับสนุนงบประมาณแก่ IVI ปีละ 100,000 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 3.25 ล้านบาท โดยใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินอุดหนุนของกระทรวงสาธารณสุข เริ่มตั้งแต่ปีงบประมาณ 2566 เป็นต้นไป และมอบหมายให้กระทรวงการต่างประเทศจัดทำสัตยาบันสาร เพื่อการเข้าร่วมเป็นภาคี IVI อย่างสมบูรณ์ และพัฒนาศักยภาพด้านวัคซีนของประเทศไทย มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ของโลก ขณะเดียวกัน ครม.ยังเห็นชอบในหลักการร่างประกาศกระทรวงการคลังรวม 3 ฉบับ ซึ่งเป็นการขยายระยะเวลามาตรการยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าที่มีความจำเป็นเนื่องจากสถานการณ์ COVID-19 โดยให้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย.-30 ก.ย. 2565
กรณีที่ประชุม ครม.เห็นชอบกำหนดวันหยุดราชการเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ และการกำหนดวันหยุดราชการประจำภูมิภาค แ