หวย ลาว ผล หวย ลาว-มา ส คา ร่า ใส innisfree-slot pg เบ ท 1 บาท 1️sa gaming666

หวย ลาว ผล หวย ลาว

เป็นเรื่องแปลกอย่างมาก ที่ประธานาธิบดี "ยุน ซอก-ยอล" แห่งเกาหลีใต้ประกาศ "กฎอัยการศึก (Martial Law)"หวย ลาว ผล หวย ลาว

วันนี้ (21 ส.ค.2567) นายษิทรา เบี้ยบังเกิด หรือทนายตั้ม เลขาธิการมูลนิธิทีมงานทนายประชาชนฯ แจ้งข้อมูลว่า พล.ต.ท.อำนวย นิ่มมะโน หนึ่งในคณะกรรมการพิจารณาเรื่องร้องเรียนตำรวจ หรือ ก.ร.ตร.จะขอถอนตัวจากคณะ

เป็นเรื่องแปลกอย่างมาก ที่ประธานาธิบดี "ยุน ซอก-ยอล" แห่งเกาหลีใต้ประกาศ "กฎอัยการศึก (Martial Law)" ด้วยเหตุผลที่ว่า "เพื่อการป้องกันภัยคุกคามจากเกาหลีเหนือและผู้ต่อต้านรัฐบาล" กระนั้น กฎอัยการศึกนี้อยู่ได้เพียงไม่ถึง 3 ชั่วโมง ภายหลังจากมีการประชุมสมัชชาแห่งชาติ (รัฐสภา) เร่งด่วนจำนวน 190 เสียงยับยั้ง และมีการประท้วงเพื่อแสดงความไม่พอใจแม้ยามดึกก็ตาม มีการคาดการณ์จากสื่อต่าง ๆ ว่า คือ "ฆ่าตัวตายทางการเมือง" ของอดีตอัยการสูงสุดของประเทศ และถือเป็นการไม่เห็นหัวประชาชน กินรวบอำนาจเข้าสู่ผู้นำให้ฝ่ายบริหารสามารถดำเนินการผ่านคำสั่งประธานาธิบดี (Executive Order) แบบเบ็ดเสร็จ ทั้งที่ยังพิสูจน์ไม่ได้ว่า ภัยคุกคามทั้งสองอย่างที่กล่าวอ้าง เป็นจริงหรือไม่ และหากยุนได้รับการชี้มูลความผิดเข้าสู่ "การขับออกจากตำแหน่ง" หรือ "Impeacement" จะถือเป็นประธานาธิบดีคนที่ 2 ในรอบกว่า 13 ปี ต่อจาก "พัค กึน-ฮเย" อดีตประธานาธิบดีจากพรรคเดียวกันทันที อ่านข่าว : ไทม์ไลน์ผู้นำเกาหลีใต้ประกาศ "กฎอัยการศึก" ก่อนสภาโหวตคว่ำ แน่นอน การกระทำที่ไม่สมเหตุสมผล นำผลร้ายมาสู่ตัวของยุนเองหรือไม่ และถือเป็นเรื่องแปลกมาก ซึ่งคนปกติไม่ทำกัน  นักวิชาการด้านเกาหลีศึกษาตั้งวงถกแรงจูงใจและเงื่อนไขสำคัญที่นำไปสู่การตัดสินใจของอดีตอัยการสูงสุดผู้นี้ ThaiPBS Online สัมภาษณ์ ศ.ดร.นภดล ชาติประเสริฐ อาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ และกรรมการประจำสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ผศ.ดร.นิธิ เนื่องจำนงค์ อาจารย์ประจำคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, และ ว่าที่ร้อยตรี เสกสรร อานันทศิริเกียรติ ผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมไทยคดีศึกษาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (Korean Association of Thai Studies : KATS) ถึงประเด็นดังกล่าว โดย ศ.ดร.นภดล ให้ทัศนะว่า จริง ๆ เรื่องเพิ่งจะเกิดขึ้น เราไม่ทราบข้อมูลเชิงลึกถึงแรงจูงใจหรือเงื่อนไขต่าง ๆ ต้องรอให้เวลาผ่านไปก่อน จะมีข้อเท็จจริงเปิดเผยออกมาเอง แต่จากการคาดการณ์ด้าน "บริบทและสภาพแวดล้อมทางการเมือง" ของยุน ซอก-ยอล ซึ่งเป็นลักษณะ "เชิงโครงสร้าง" ว่าเป็นเพราะเหตุใดเขาจึงเลือกตัดสินใจอย่าง "ไม่สมเหตุสมผล" และมีข้อสันนิษฐานที่พอจะเป็นไปได้ คือ ยุน "ขาดกึ๋นทางการเมือง" ล้วน ๆ หากไม่นับประธานาธิบดีที่มาจากทหาร หลังจากรัฐธรรมนูญ ปี 1987 ทุกคนล้วนผ่านงานการเมืองมาก่อนขึ้นเป็นผู้นำ ไม่ว่าจะเป็น โน แท-อู ที่เป็นมือขวาของ ชอน ทู-ฮวัน (ประธานาธิบดีทหาร) , คิม ยอง-ซัม และ คิม แท-จุง ที่เป็นแอคติวิสต์และ ส.ส., โน มู-ฮยอน ก็เคยเป็น ส.ส. และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาสมุทรและการประมง, อี มยอง-บัก แม้จะเป็นนักบริหารธุรกิจ แต่ก็เคยเป็นนายกเทศมนตรีกรุงโซลมาก่อน, พัค กึน-ฮเย ไม่ต้องกล่าวถึง เพราะช่วยงานพ่อ (ประธานาธิบดี พัค ชอง-ฮี) มานาน หรือจนถึง มุน แจ-อิน ที่เป็นนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนและเคยเป็นทีมที่ปรึกษาของ โน มู-ฮยอน มาก่อน ยุน ไม่ใช่แบบนั้น แม้จะทำงานอัยการตงฉิน ถูกใจและเป็นที่รักยิ่งของประชาชน จน "People Power Party" ดึงตัวมาเป็นแคนดิเดต และขึ้นสู่อำนาจได้ แต่งานการเมืองต่างจากงานราชการ ไม่มีสูตรสำเร็จในการบริหาร ต้องใช้ "กึ๋น" อย่างสูง ลูกล่อลูกชน การประนีประนอม หรือการโน้มน้าวเรียกคะแนนเสียงต้องมี เมื่อรัฐบาลของเขาเกิดปัญหา สั่งการอะไรไม่ค่อยจะได้ ด้วยประสบการณ์ที่น้อยนิด แต่กลับได้รับพันธกิจที่ใหญ่เกินตัว เป็นหนึ่งในเหตุผลที่ยุนทำอะไรแบบสิ้นคิดนี้ได้ ตามหลักการของการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จด้วยกฎอัยการศึกแล้ว หากหัวเรือประกาศต้องมี "ผู้รับลูก" เช่น บรรดาทหาร คณะรัฐมนตรี พรรครัฐบาล หรือมวลชน ต้องออกมาแสดงจุดยืนเคียงข้างว่าการกระทำนี้เป็นสิ่งที่ถูกต้อง ชอบธรรม และสมควร แต่ครั้งนี้ของยุน ไม่มีใครรับลูกเลย แม้แต่ ส.ส. พรรคเดียวกันยังแหกขี้ตาตื่นมาตอนตี 1 เพื่อลงมติยับยั้งเสียด้วยซ้ำ ศ.ดร.นภดล กล่าวอีกว่า ยุนอาจจะรับแรงกดดันมาก ๆ ไม่ค่อยได้ เพราะขณะนี้มีปัญหาถาโถมการบริหารประเทศของเขานานับประการ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาจาก "ภรรยา" ที่เกี่ยวข้องกับคดีปั่นหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ หรือการครอบครองสินค้าราคาแพงที่ "ติดแกลม" เกินกว่ากฎหมายเกาหลีใต้กำหนด ปัญหาคอร์รัปชัน รวมไปถึงการเป็นปฏิปักษ์กับความหลากหลายทางเพศ ที่หมายจะยุบกระทรวงความเท่าเทียมทางเพศและครอบครัว ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่เขาไม่เคยเผชิญยามเป็นข้าแผ่นดินทั้งสิ้น ด้าน ผศ.ดร.นิธิ ชี้ว่า อีกหนึ่งเงื่อนไขเชิงโครงสร้างสำคัญที่เป็นผลให้ยุนตัดสินใจก่อการอันเป็นความเสื่อมแก่ตนเอง คือ การเกิด "สภาวะเป็ดง่อย (Lame Duck) " ของฝ่ายบริหาร เนื่องจากการเลือกตั้งสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ (เลือกตั้ง ส.ส.) ในช่วงกลางปี 2024 พรรคประชาธิปัตย์ (Democratic Party) ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายค้าน ได้รับเลือกตั้งเป็นเสียงข้างมาก ส่งผลให้การบริหารแผ่นดินของยุนทำได้ลำบากเพิ่มมากขึ้น ผศ.ดร.นิธิ กล่าวต่อว่า การที่ยุนเลือกใช้ข้ออ้างว่าปกป้องประเทศจากภัยคุกคามทางฝั่งเหนือหรือผู้บ่อนทำลายประเทศ เป็นวิธีคิดแบบ "สงครามเย็น" ไม่แตกต่างจากรัฐบาลอำนาจนิยมทหารสมัยปี 1970 จริงอยู่ ที่ตอนนี้เกาหลีใต้อยู่ใน "สภาวะสงคราม" ตามหลักการ หรือมีการชุมนุมประท้วงของผู้ไม่พอใจยุน ทำให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อย ซึ่งสามารถที่จะประกาศกฎอัยการศึกได้ แต่เกาหลีใต้เดินทางมาไกลเกินกว่าจะกลับไปสู่จุดที่นึกจะประกาศอะไรแบบนี้ตามใจชอบได้มานานแล้ว ที่มา: วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่มา: วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ส่วน ว่าที่ร้อยตรี เสกสรร ชี้ว่า การประกาศกฎอัยการศึกของยุนนั้นเป็นการ "โยนหินถามทาง" ที่ไม่ได้คาดการณ์ว่า จะมีแรงกระเพื่อมมากมายเพียงนี้ ขนาด ฮัน ทง-ฮุน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ซึ่งเป็นรุ่นน้องกันมาตั้งแต่สมัยเรียนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล ยังออกมาประนามการกระทำของยุน ทั้งที่โดยปกติแล้ว ฮันจะตามใจรุ่นพี่คนนี้ทุกอย่าง ว่าที่ร้อยตรี เสกสรร ยังชี้ให้เห็นว่า บรรดาฐานเสียงของยุนที่เป็น "ชายแท้" หรือกลุ่มที่ค่อนข้างเหยียดเพศ เหยียดเชื้อชาติ และมีความนิยมในระบอบทหาร ซึ่งเป็นคะแนนเสียงส่งให้เขาเป็นประธานาธิบดี ต่างก็ตีตนออกห่าง เหลือไว้แต่เพียงชายแท้ "แก่ ๆ" ที่มีฐานเสียงไม่มากนัก ข้างต้นเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างที่กระทบกับยุนโดยตรง แต่เรื่องที่เป็นพื้นฐานที่สุดของการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี คือ "Kingmaker" หรือ "ผู้ให้การสนับสนุนภายในพรรค"ก็เป็นผลต่อการตัดสินใจของเขาไม่ต่างกัน เพราะสิ่งนี้กระทบถึง "ความแข็งแกร่ง" ในบัลลังก์ของเขาด้วย ศ.ดร.นภดล เสนอว่า ยุนเป็นประธานาธิบดีจากการที่ "People Power Party" ส่งเทียบเชิญให้มาเป็นแคนดิเดต และการที่ไม่มีประสบการณ์ทางการเมืองมาก่อน จึงทำให้ไม่มี "ฐานเสียง" ภายในพรรคการเมือง หรืออาจจะเรียกว่า กลุ่มมุ้ง ภายในพรรคที่เป็นเสาเข็มค้ำยันอำนาจยามที่เพลี่ยงพล้ำหรือไร้แรงสนับสนุนจากมวลชน ศ.ดร.นภดล แสดงความเห็นใจต่อยุนว่า การเปลี่ยนวิธีคิดจากราชการมาเป็นนักการเมืองไม่ใช่เรื่องง่าย และการไม่มีโอกาสสั่งสมบารมีภายในพรรคการเมืองก็เป็นเรื่องที่วกกลับมาทำอันตรายในภายหลัง พวกเดียวกันพากันถอยห่างหมด ตอนนี้ยุนเองก็หลังชนฝามาก ๆ ส่วนผศ.ดร.นิธิ ชี้ว่า ควรให้ความสำคัญกับเงื่อนไข "การควบคุมโดยประชาชน (Civilian Control) " เป็นหลัก สังเกตได้จาก การที่กองทัพเกาหลีใต้ "ไม่เข้ามายุ่งเกี่ยว" ใด ๆ กับการที่มี ส.ส. แหกรั้วเข้าไปลงมติยับยั้งกฎอัยการศึก ทั้งที่จริง ด้วยการที่เป็นหน่วยงานผูกขาดความรุนแรงและอาวุธ สามารถกระทำการปราบปรามหรือยุติการกระทำได้ง่าย ๆ สอดคล้องกับ ศ.ดร.นภดล ระบุว่า กลยุทธ์ของการประกาศกฎอัยการศึก คือ ต้องให้ทหารหรือกองกำลังของตนเองวางกำลังคุมสถานที่สำคัญของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นสมัชชาแห่งชาติ ธนาคารแห่งชาติ ทำเนียบรัฐบาล หรือกระทั่งแลนด์มาร์กทางเศรษฐกิจ แต่การก่อการของยุนนั้น ทหารคุมเพียงสมัชชาแห่งชาติ ซึ่งเห็น ๆ กันอยู่ว่าทำอะไรไม่ได้ มิหนำซ้ำ ทหารยังปล่อยให้ ส.ส. และมวลชนประท้วงอย่างเสรี ถือว่า "ไม่เป็นงาน" ใด ๆ ทั้งสิ้น ว่าที่ร้อยตรี เสกสรร ยังชี้ว่า ให้กลับไปฟังแถลงการณ์ยุติกฎอัยการศึกของยุนให้ดี ๆ จะพบว่า ยุนออกแนวตัดพ้อชีวิตการทำงานของตน ว่าไม่มีใครเข้าข้าง ฝ่ายค้านก็คอยแต่จะขัดแข้งขัดขา งบประมาณนำมาผ่านร่างในสภาก็ยากเย็น แม้จะเข้าใจได้ว่า เงื่อนไขต่าง ๆ ไม่เอื้ออำนวยในยุนกระทำการได้ดั่งใจ และคาดการณ์ว่าประธานาธิบดีผู้นี้ไม่น่าจะ "รอดคุก"ได้อย่างแน่นอน แต่ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 77 ของเกาหลีใต้ ระบุว่า "ประธานาธิบดีสามารถจะประกาศกฎอัยการศึกได้ หากประเทศอยู่ในสภาวะฉุกเฉินจากภัยคุกคาม" และเมื่อกฎอัยการศึกไม่เคยประกาศใช้ในเกาหลีใต้เลยมามากกว่า 40 ปี (ครั้งล่าสุดคือปี 1980) เป็นไปได้หรือไม่ว่า "การตีความ" ภัยคุกคามของยุน ว่ามาจากเกาหลีเหนือและกลุ่มต่อต้านในประเทศ จะถือได้ว่าสอดรับกับความสมเหตุสมผลในกฎอัยการศึกนี้ ว่าที่ร้อยตรี เสกสรร ชี้แจงว่า เหตุผลเช่นนี้ฟังไม่ขึ้น เพราะทั้งสองนั้นเป็นภัยคุกคามที่มีอยู่ตลอด ไม่ได้แปลกอะไร ในส่วนของเกาหลีเหนือ แม้จะมีการจับมือกับ วลาดิเมียร์ ปูติน แห่งรัสเซีย แต่การทดสอบยิงขีปนาวุธ แทบจะน้อยที่สุดในรอบ 20 ปี แถมยังไม่ได้มีความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินอีกด้วย ส่วนภัยคุกคามภายใน การชุมนุมประท้วงหรือการปล่อยข่าวเท็จของฝ่ายตรงข้ามทางการเมืองก็มีมาตลอด แต่ประธานาธิบดีคนอื่น ๆ เลือกใช้ "กระบวนการยุติธรรม" มากกว่าที่จะมาประกาศกฎอัยการศึกให้เป็นเรื่องใหญ่โตแบบนี้ แต่สิ่งที่ควรตระหนัก ว่าที่ร้อยตรี เสกสรร ชี้ว่า ประเด็นการประกาศกฎอัยการหวย ลาว ผล หวย ลาวศึกภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 1987 ของเกาหลีใต้ไม่เคยมีมาก่อน ไม่มีฎีกาหรือกรณีศึกษาให้เปรียบเทียบ หากจะยื่นถอดถอนหรือเอาผิด ไม่สามารถยกกรณีก่อนหน้า เช่น พัค กึน-ฮเย ที่เดินขบวนขับไล่ได้ เป็นเพียงเรื่องคอร์รัปชั่น ซึ่งโทษเบากว่ามาก "ไม่รู้ว่าศาลรัฐธรรมนูญจะตัดสินแบบใด ยุนจะยื่นหลักฐานหรือชี้แจงได้ว่า ภัยคุกคามที่เขากล่าวอ้างเป็นความจริง ส่งผลกระทบต่อประเทศจริง ไม่มีใครทราบตื้นลึกหนาบาง แต่ยืนยันว่า ภูมิทัศน์ทางการเมืองของเกาหลีก็จะเหมือนเดิม อำนาจของประธานาธิบดีไม่มีทางสั่นคลอน เพราะชาวเกาหลีใต้มีระบบคานอำนาจของประธานาธิบดีผ่านสมัชชาแห่งชาติ โดยการเลือกตั้งกลางเทอม แต่ปัญหา คือ ประธานาธิบดีในรายบุคคลจะตัดสินใจได้ยากขึ้น" ว่าที่ร้อยตรี เสกสรร ทิ้งท้าย บทความโดย: วิศรุต หล่าสกุล อ่านข่าว พรรค DP-กลุ่มแรงงานเรียกร้อง "ยุน ซอก-ยอล" ลาออก "ยุน ซอก-ยอล" จากอัยการสูงสุด สู่กฎอัยการศึก ถอดรหัส “เกาหลีใต้ -สิงคโปร์” ประชาชนอำนาจสูง "ต้านโกง"

ทีมนักเทนนิสไทยพบศรีลังกาในเดวิสคัพโซนเอเชีย โอเชียเนีย กลุ่ม 2 ไทยเจอศรีลังการในการประกบคู่เดวิสคัพ

คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 87
ระดับน้ำหลายพื้นที่ยังวิกฤต ผู้ประสบอุทกภัยในจังหวัดอ่างทองกำลังได้รับผลกระทบจากน้ำที่ท่วมขังเป็นเวลานาน ป่วยเป็นโรคเครียดและน้ำกัดเท้า ส่วนเจ้าหน้าที่ในจังหวัดเชียงใหม่ เร่งนำเครื่องจักรขนาดใหญ่เข้าไ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่