ความคืบหน้า กรณีตำรวจประสบอุบัติเหตุพลิกคว่ำบนทางด

วันนี้ (29 ม.ค.2567) ความคืบหน้ากรณี ศาลแขวงพระนครเหนือนัดฟังคำพิพากษาคดีของไอซ์ น.ส.รักชนก ศรีนอก สส. เขตบางบอน-หนองแขม พรรคก้าวไกล กรณีถูกกล่าวหาว่าหมิ่นประมาท น.ส.อัญชะลี ไพรีรัก และนายกนก รัตน์วงศ
วันนี้ (25 ก.พ.2566) นายเมธี อรุณ รองโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ กล่าวว่า หลังจากที่ได้ปล่อย Teaser เพลงเช้าวันใหม่ ออกไปแล้ว ได้รับความสนใจเป็นอย่างดีมาก พรรคประชาธิปัตย์เปิดโอกาสให้ได้ใช้ความสามารถทางดนตรี
คลอดกฎหมายอุ้มบุญ บังคับใช้ 30 ก.ค.นี้ สธ.เตือนทำเชิงพาณิชย์จำคุก 10 ปีปรับ 2 แสน รมว.สธ.เผยกฎหมายคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ มีผลบังคับใช้สิ้นเดือน ก.ค. 58 เนื้อหาระบุห้ามปฏิเสธรับเด็กเป็นบุตร อุ้มบุญเพื่อการค้า หรือเป็นนายหน้า รวมถึงห้ามซื้อขายนำเข้าอสุจิ ไข่ ตัวอ่อน ชี้หากแพทย์-คู่สามีภรรยา-ผู้รับตั้งครรภ์ ฝ่าฝืน มีโทษสูงสุดจำคุก 10 ปี ปรับ 2 แสนบาท คลอดกฎหมายอุ้มบุญ บังคับใช้ 30 ก.ค.นี้ สธ.เตือนทำเชิงพาณิชย์จำคุก 10 ปีปรับ 2 แสน วันนี้ (29 ก.ค. 2558) ศ.นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน รมว.สาธารณสุข แถลงข่าวการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ปี 2558 ว่า กฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับใช้ในวันที่ 30 ก.ค. นี้ โดยเจตนารมย์ของกฎหมาย มีขึ้นเพื่อช่วยคู่สามีภรรยาที่จดทะเบียนสมรสถูกต้องตามกฎหมายแต่มีบุตรยาก ให้สามารถมีบุตรได้ และยังควบคุมป้องกันไม่ให้นำวิธีอุ้มบุญไปใช้ประโยชน์ในทางที่ผิด ไม่ว่าจะเป็นการรับจ้างตั้งครรภ์ การค้ามนุษย์ รวมถึงการทอดทิ้งเด็ก นพ.รชตะกล่าวอีกว่า กฎหมายฉบับนี้ยังกำหนดข้อห้าม ไม่ให้สามีและภรรยาที่ทำอุ้มบุญปฏิเสธรับเด็กเป็นบุตร ห้ามรับตั้งครรภ์แทนเพื่อประโยชน์ทางการค้า ห้ามเป็นนายหน้าจัดการหรือชี้ช่องให้มีการตั้งครรภ์แทน ห้ามซื้อ เสนอซื้อหรือขาย นำเข้าหรือส่งออกอสุจิ ไข่ ตัวอ่อน โดยสถานประกอบการ แพทย์ คู่สามีภรรยา และผู้รับตั้งครรภ์ ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย “สำหรับบทลงโทษกรณีแพทย์ไม่ปฏฺิบัติตามมาตรฐานแพทยสภา มีโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ หากกระทำเชิงการค้ารับจ้างอุ้มบุญ มีโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท กรณีเป็นนายหน้ามีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท กรณีขายอสุจิ หรือไข่ มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ศ.นพ.รชตะ กล่าวด้วยว่า สำหรับกรณีที่ดำเนินการอุ้มบุญก่อนกฎหมายฉบับนี้มีผลบังคับใช้ สามารถยื่นรับรองบุตรได้ ซึ่งการปฏิบัติการตามกฎหมายจะดำเนินการภายใต้คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก ที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ โดยเป็นตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ จำนวน 15 คน วันนี้ (29 ก.ค. 2558) ศ.นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน รมว.สาธารณสุข แถลงข่าวการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ปี 2558 ว่า กฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับใช้ในวันที่ 30 ก.ค. นี้ โดยเจตนารมย์ของกฎหมาย มีขึ้นเพื่อช่วยคู่สามีภรรยาที่จดทะเบียนสมรสถูกต้องตามกฎหมายแต่มีบุตรยาก ให้สามารถมีบุตรได้ และยังควบคุมป้องกันไม่ให้นำวิธีอุ้มบุญไปใช้ประโยชน์ในทางที่ผิด ไม่ว่าจะเป็นการรับจ้างตั้งครรภ์ การค้ามนุษย์ รวมถึงการทอดทิ้งเด็ก นพ.รชตะกล่าวอีกว่า กฎหมายฉบับนี้ยังกำหนดข้อห้าม ไม่ให้สามีและภรรยาที่ทำอุ้มบุญปฏิเสธรับเด็กเป็นบุตร ห้ามรับตั้งครรภ์แทนเพื่อประโยชน์ทางการค้า ห้ามเป็นนายหน้าจัดการหรือชี้ช่องให้มีการตั้งครรภ์แทน ห้ามซื้อ เสนอซื้อหรือขาย นำเข้าหรือส่งออกอสุจิ ไข่ ตัวอ่อน โดยสถานประกอบการ แพทย์ คู่สามีภรรยา และผู้รับตั้งครรภ์ ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย “สำหรับบทลงโทษกรณีแพทย์ไม่ปฏฺิบัติตามมาตรฐานแพทยสภา มีโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ หากกระทำเชิงการค้ารับจ้างอุ้มบุญ มีโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท กรณีเป็นนายหน้ามีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท กรณีขายอสุจิ หรือไข่ มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ศ.นพ.รชตะ กล่าวด้วยว่า สำหรับกรณีที่ดำเbetformulaนินการอุ้มบุญก่อนกฎหมายฉบับนี้มีผลบังคับใช้ สามารถยื่นรับรองบุตรได้ ซึ่งการปฏิบัติการตามกฎหมายจะดำเนินการภายใต้คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก ที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ โดยเป็นตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ จำนวน 15 คน
วันนี้ (4 ก.พ.2564) ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ จ
วันนี้ (16 พ.ค.2568) นายศุภมิตร วัฒน์นพคุณ ตัวแทนผู้บริหาร บริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไ
วันที่ 20 ก.พ.2567 ครอบครัวและญาตินำศพของ นายวีราพัชร์ อายุ 47 ปี ชาว ต.โคกว่าน อ.ละหานทราย จ.บุรีรั
คลอดกฎหมายอุ้มบุญ บังคับใช้ 30 ก.ค.นี้ สธ.เตือนทำเชิงพาณิชย์จำคุก 10 ปีปรับ 2 แสน รมว.สธ.เผยกฎหมายคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ มีผลบังคับใช้สิ้นเดือน ก.ค. 58 เนื้อหาระบุห้ามปฏิเสธรับเด็กเป็นบุตร อุ้มบุญเพื่อการค้า หรือเป็นนายหน้า รวมถึงห้ามซื้อขายนำเข้าอสุจิ ไข่ ตัวอ่อน ชี้หากแพทย์-คู่สามีภรรยา-ผู้รับตั้งครรภ์ ฝ่าฝืน มีโทษสูงสุดจำคุก 10 ปี ปรับ 2 แสนบาท คลอดกฎหมายอุ้มบุญ บังคับใช้ 30 ก.ค.นี้ สธ.เตือนทำเชิงพาณิชย์จำคุก 10 ปีปรับ 2 แสน วันนี้ (29 ก.ค. 2558) ศ.นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน รมว.สาธารณสุข แถลงข่าวการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ปี 2558 ว่า กฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับใช้ในวันที่ 30 ก.ค. นี้ โดยเจตนารมย์ของกฎหมาย มีขึ้นเพื่อช่วยคู่สามีภรรยาที่จดทะเบียนสมรสถูกต้องตามกฎหมายแต่มีบุตรยาก ให้สามารถมีบุตรได้ และยังควบคุมป้องกันไม่ให้นำวิธีอุ้มบุญไปใช้ประโยชน์ในทางที่ผิด ไม่ว่าจะเป็นการรับจ้างตั้งครรภ์ การค้ามนุษย์ รวมถึงการทอดทิ้งเด็ก นพ.รชตะกล่าวอีกว่า กฎหมายฉบับนี้ยังกำหนดข้อห้าม ไม่ให้สามีและภรรยาที่ทำอุ้มบุญปฏิเสธรับเด็กเป็นบุตร ห้ามรับตั้งครรภ์แทนเพื่อประโยชน์ทางการค้า ห้ามเป็นนายหน้าจัดการหรือชี้ช่องให้มีการตั้งครรภ์แทน ห้ามซื้อ เสนอซื้อหรือขาย นำเข้าหรือส่งออกอสุจิ ไข่ ตัวอ่อน โดยสถานประกอบการ แพทย์ คู่สามีภรรยา และผู้รับตั้งครรภ์ ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย “สำหรับบทลงโทษกรณีแพทย์ไม่ปฏฺิบัติตามมาตรฐานแพทยสภา มีโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ หากกระทำเชิงการค้ารับจ้างอุ้มบุญ มีโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท กรณีเป็นนายหน้ามีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท กรณีขายอสุจิ หรือไข่ มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ศ.นพ.รชตะ กล่าวด้วยว่า สำหรับกรณีที่ดำเนินการอุ้มบุญก่อนกฎหมายฉบับนี้มีผลบังคับใช้ สามารถยื่นรับรองบุตรได้ ซึ่งการปฏิบัติการตามกฎหมายจะดำเนินการภายใต้คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก ที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ โดยเป็นตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ จำนวน 15 คน วันนี้ (29 ก.ค. 2558) ศ.นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน รมว.สาธารณสุข แถลงข่าวการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ปี 2558 ว่า กฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับใช้ในวันที่ 30 ก.ค. นี้ โดยเจตนารมย์ของกฎหมาย มีขึ้นเพื่อช่วยคู่สามีภรรยาที่จดทะเบียนสมรสถูกต้องตามกฎหมายแต่มีบุตรยาก ให้สามารถมีบุตรได้ และยังควบคุมป้องกันไม่ให้นำวิธีอุ้มบุญไปใช้ประโยชน์ในทางที่ผิด ไม่ว่าจะเป็นการรับจ้างตั้งครรภ์ การค้ามนุษย์ รวมถึงการทอดทิ้งเด็ก นพ.รชตะกล่าวอีกว่า กฎหมายฉบับนี้ยังกำหนดข้อห้าม ไม่ให้สามีและภรรยาที่ทำอุ้มบุญปฏิเสธรับเด็กเป็นบุตร ห้ามรับตั้งครรภ์แทนเพื่อประโยชน์ทางการค้า ห้ามเป็นนายหน้าจัดการหรือชี้ช่องให้มีการตั้งครรภ์แทน ห้ามซื้อ เสนอซื้อหรือขาย นำเข้าหรือส่งออกอสุจิ ไข่ ตัวอ่อน โดยสถานประกอบการ แพทย์ คู่สามีภรรยา และผู้รับตั้งครรภ์ ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย “สำหรับบทลงโทษกรณีแพทย์ไม่ปฏฺิบัติตามมาตรฐานแพทยสภา มีโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ หากกระทำเชิงการค้ารับจ้างอุ้มบุญ มีโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท กรณีเป็นนายหน้ามีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท กรณีขายอสุจิ หรือไข่ มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ศ.นพ.รชตะ กล่าวด้วยว่า สำหรับกรณีที่ดำเbetformulaนินการอุ้มบุญก่อนกฎหมายฉบับนี้มีผลบังคับใช้ สามารถยื่นรับรองบุตรได้ ซึ่งการปฏิบัติการตามกฎหมายจะดำเนินการภายใต้คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก ที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ โดยเป็นตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ จำนวน 15 คน
คลอดกฎหมายอุ้มบุญ บังคับใช้ 30 ก.ค.นี้ สธ.เตือนทำเชิงพาณิชย์จำคุก 10 ปีปรับ 2 แสน รมว.สธ.เผยกฎหมายคุ